วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Personal Pronouns - Subject Pronoun / Object Pronouns


Personal Pronouns (เพอซันนอล-โพรนาว)  บุรุษสรรพนาม   เป็นคำสรรพนาม ที่ใช้แทนคน สัตว์ สิ่งของและชื่อสถานที่ ในการสนทนา เพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงคำนามตัวเดิมซ้ำ ๆ หลายครั้ง มีคุณสมบัติเหมือนคำนาม


แบ่งออกเป็น  2 ประเภท คือ  
Subject  Pronoun (คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค) และ 
Object Pronouns (สรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค)  




















วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Verb + Gerund ; Expressions + Gerund



Grammar  M6.

Verb + Gerund  ;  Expressions + Gerund

Some verb and expressions can be followed by a gerund  (an –ing from of  a verb)

Example :
I  like  learning  languages.                      
I  dislike  waiting  in  line.
I  can’t  stand  listening  to  loud  music.
I’m  having  trouble  I  difficulty  finding   a  job.
It’s  no use  worrying  about  that  now.
It’s  not  worth  going  by  taxi.   It’s  near  here.

ฉัน ชอบ การเรียนรู้ ภาษา
ฉันไม่ชอบการรอคอยในสาย
ฉันไม่สามารถ ทน การฟัง เพลงเสียงดังได้
ฉันกำลังมีปัญหา ฉัน ยากลำบาก ในการหา งาน
มันไม่ต้องใช้ ความกังวล เกี่ยวกับสิ่งนั้น ตอนนี้

มันไม่คุ้มค่ากับการไป โดยรถแท็กซี่.  มันใกล้ที่นี่








อ้างอิง


.
.
.
.
,
.
.
.
,

วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Gerund กริยานาม { Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing }

Gerunds

        A gerund is a form of a verb ending in ‘-ing’ and function as a nouns.  It is the present participle from of the verb used as a noun.
A gerund is derived from a verb and therefore denotes an action or condition.
        However ,  sine a gerund function as a noun,  it takes the place of a noun in a given sentence, such as the subject , direct object, subject complement, and object of preposition.

Examples of gerunds::
1.  He  likes  reading  story  books.
 2.  Swimming  is  his  favorite  hobby.
3.  Jane  loves  singing  happy  songs. 
4.  My hobby is collecting stamps.
5.  I am very fond of dancing.  ฉันชื่นชอบการเต้นมาก
.

 . . . . . . . . . . .  . .

        Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing ข้างหลังกริยานั้นๆ   เพื่อที่จะทำการ แปลงจากคำกริยาให้เป็นคำนาม

       ดังนั้น   Gerund   คือ   คำกริยา + ing หรือ v-ing 
     
        Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct (เสริมคำกริยา)’ และ คุณศัพท์   ==>  ส่วน  gerund ทำหน้าที่เป็น คำนาม

    เมื่อ gerund เป็น คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้

    1. ใช้เป็นประธานของประโยค  (Subject)

    2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท    (
Object of preposition)

    3. ใช้เป็นกรรมของคำกริยา Vt.  (
Direct object)

    4. ใช้ตามหลัง verb to be เพื่อแสดงตัวตนของประธาน
  (Subject complement)
 









Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค

Verb + - ing = Noun

Gerund

1. ตัวอย่าง Verb ที่ตามด้วย Gerund

admit (ยอมรับ)
anticipate (มุ่งหวัง)
appreciate (ซาบซึ้ง)
avoid (หลีกเลี่ยง)
compare (เปรียบเทียบ)
complete (ทำเสร็จ)
confess (สารภาพ)
consider (พิจารณา)
delay (ทำให้ช้า)
deny (ปฏิเสธ)
detest (รังเกียจ)
discuss (สนทนา)
dislike (ไม่ชอบ)
enjoy (สนุกสนาน)
escape (หลบหนี)
excuse (แก้ต่าง)
fancy (นึกฝัน, จินตนาการ)
finish (เสร็จ, สำเร็จ)
forgive (ให้อภัย, ยกโทษ)
imagine (จินตนาการ)
involve (เกี่ยวข้อง)
mention (กล่าวถึง)
mind (รังเกียจ)
miss (พลาด)
practice (ฝึกฝน)
postpone (เลื่อน, ผลัด)
recognize (จำได้)
recollect (ย้อนระลึก)
report (รายงาน)
resent (ขุ่นเคือง)
resist (ต้านทาน)
risk (เสี่ยง)
suggest (แนะนำ)
stand (อดทน)
stop (หยุด)
tolerate (อดทน)
หมายเหตุ Verb เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) ได้เช่นกัน
ตัวอย่าง They admitted cheating on their test. (พวกเขายอมรับว่าโกงข้อสอบ)
Do you mind picking up the phone? (คุณช่วยรับโทรศัพท์ให้หน่อยได้ไหม)
completed filling out the form. (ฉันกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว)
2. ตัวอย่าง Adjective (คุณศัพท์) ที่ตามด้วย Gerund
afraid of (กลัว)
fond of (ชอบที่จะ)
angry about / at (โกรธ)
interested in (สนใจใน)
bad at (ไม่ถนัด ,ไม่ดี)
proud of (ภูมิใจกับ)
busy (ยุ่ง)
sick of (เบื่อที่จะ)
clever at (ฉลาด,เก่ง)
sorry about (เสียใจกับ)
crazy about (บ้าคลั่ง)
tired of (เหนื่อยใจกับ)
disappointed about (ผิดหวังเกี่ยวกับ)
worried about (กังวลเกี่ยวกับ)
excited about (ตื่นเต้นเกี่ยวกับ)
worth (มีคุณค่า,สมควรแก่)
famous for (มีชื่อเสียงใน)

หมายเหตุ Adjective เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) ได้เช่นกัน

ตัวอย่าง I’m afraid of diving. (ฉันกลัวการดำน้ำ)
He is busy doing his job. (เขากำลังยุ่งอยู่กับงานของเขา)
I’m crazy about reading comic books (ฉันบ้าคลั่งกับการอ่านหนังสือการ์ตูน)
3. ตัวอย่าง Preposition (บุพบท) ที่ตามด้วย Gerund
about (เกี่ยวกับ)
by (โดย)
after (หลังจาก)
in (ใน)
apart from (นอกเหนือจาก)
instead of (แทนที่จะ)
at (ที่)
on (บน)
because of (เนื่องจาก)
without (ปราศจาก)
before (ก่อนหน้า)

หมายเหตุ Preposition เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) หรือ Verb ในรูปแบบอื่นๆได้เช่นกัน
ตัวอย่าง After fishing, we had a dinner together. (หลังจากตกปลาเสร็จ เราก็ได้ทานอาหารเย็นด้วยกัน)
I went to the shopping mall without telling mom. (ฉันไปเดินห้างโดยไม่บอกให้แม่รู้)
4. ตัวอย่างคำและประโยคอื่นๆ ที่ตามด้วย Gerund
accuse of
forget about (ลืมเกี่ยวกับ)
agree with
give up (ล้มเลิก)
apologize for
have a …. (good/bad/hard/difficult/etc.) time
approve of (เห็นด้วยกับ)
have problem/trouble/difficulty (มีปัญหา,มีความลำบาก)
believe in
insist on (ยืนกราน)
blame for
It’s no use / It’s no good (ไม่มีประโยชน์)
can’t bear / can’t stand (ทนไม่ได้)
Keep / keep on (ทำต่อไป, คงไว้)
can’t help / can’t resist (อดไม่ได้)
put off (เลื่อน)
carry on / go on (ทำต่อไป)
prevent from (ป้องกัน)
complain about (บ่น)
rely on (วางใจ)
concentrate on (จดจ่อ)
succeed in (ประสบความสำเร็จใน)
congratulate on (ยินดีกับ)
specialize in (เชี่ยวชาญใน)
cope with (รับมือกับ)
stop from (หยุด)
decide against (ตัดสินใจ)
talk about/of (พูดคุยเกี่ยวกับ)
depend on (ขึ้นอยู่กับ)
think of (คิดถึง)
dream about/of (ฝันถึง)
warn against (เตือน)
feel like (รู้สึกอยากจะ)
worry about (กังวลเกี่ยวกับ)
หมายเหตุ คำหรือประโยคเหล่านี้ เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) ได้เช่นกัน
5. เรามักใช้ Gerund ตามหลังคำหรือประโยคเหล่านี้ แม้ว่าหลังคำหรือประโยคเหล่านี้จะมี “to” ก็ตาม
accustomed to (ชิน,คุ้นเคยกับ)
object to (คัดค้านต่อ)
confess to (สารภาพ)
used to (ชิน,คุ้นเคยกับ)
look forward to (ตั้งหน้าตั้งตารอคอย)
opposed to (คัดค้านต่อ)
ตัวอย่าง I look forward to seeing you soon. (ฉันตั้งหน้าตั้งตาคอยวันที่จะได้พบคุณในเร็ววัน)
Tips: โดยส่วนใหญ่แล้ว เราจะใช้ Gerund เมื่อเราต้องการพูดถึงการกระทำต่างๆ (actions)โดยอาศัยหลักการนำ Verb มาเปลี่ยนให้เป็น Noun นั่นเอง











อ้างอิง


Gerunds function as nouns. Thus, gerunds will be subjects, subject complements, direct objects, indirect objects, and objects of prepositions.

Present participles, on the other hand, complete progressive verbs or act asmodifiers.


Read these examples of gerunds:

Since Francisco was five years old, swimming has been his passion.
Swimming = subject of the verb has been.

Francisco's first love is swimming.
Swimming = subject complement of the verb is.

Francisco enjoys swimming more than spending time with his girlfriend Diana.
Swimming = direct object of the verb enjoys.

Francisco gives swimming all of his energy and time.
Swimming = indirect object of the verb gives.

When Francisco wore dive fins to class, everyone knew that he was devoted to swimming.
Swimming = object of the preposition to.
These ing words are examples of present participles:

One day last summer, Francisco and his coach wereswimming at Daytona Beach.
Swimming = present participle completing the past progressive verbwere swimming.

A Great White shark ate Francisco's swimming coach.
Swimming = present participle modifying coach.

Now Francisco practices his sport in safe swimming pools.
Swimming = present participle modifying pools.